
ข้อมูลผลิตภ ัณฑ์และความปลอดภ ัย
37

ห ้ามทิ้งแบตเตอรี่ที่ไม่ใช ้ลงในกองไฟเพราะแบตเตอรี่อาจระเบิดได ้ การกําจัดแบตเตอรี่ต ้องเป็นไปตามกฎหมายของท ้องถิ่น นํากลับมา
ใช ้ใหม่ ถ ้าเป็นไปได ้ และไม่ควรทิ้งรวมกับขยะภายในบ ้าน
ห ้ามถอดชิ้นส่วน, ตัด, เปิด, บีบอัด, ดัดงอ, เจาะ หรือแยกส่วนเซลล์หรือแบตเตอรี่ หากแบตเตอรี่รั่วออกมา อย่าให ้ของเหลวนั้นสัมผัส
กับผิวหนังหรือดวงตา หากสัมผัสโดนผิวหนังหรือดวงตา ให ้ล ้างบริเวณนั้นด ้วยนํ้าสะอาดทันที หรือรีบไปพบแพทย์
ห ้ามดัดแปลง, ประกอบใหม่, พยายามใส่วัตถุแปลกปลอมลงในแบตเตอรี่ หรือนําไปแช่ในนํ้าหรือของเหลวชนิดอื่นๆ หากแบตเตอรี่เสียหาย
อาจทําให ้เกิดการระเบิดได ้
ใช ้แบตเตอรี่หรืออุปกรณ์ชาร์จตามวัตถุประสงค์ที่เหมาะสมเท่านั้น การใช ้งานที่ไม่เหมาะสมหรือการใช ้งานแบตเตอรี่ที่ไม่ได ้รับการรับรอง
หรืออุปกรณ์ชาร์จที่ใช ้ร่วมกันไม่ได ้อาจเสี่ยงต่อการลุกไหม ้ การระเบิด หรืออันตรายอื่นๆ และอาจส่งผลต่อการรับรองหรือการรับประกัน หาก
คุณเชื่อว่าแบตเตอรี่หรืออุปกรณ์ชาร์จชํารุดเสียหาย ให ้นําไปที่ศูนย์บริการเพื่อตรวจสอบก่อนนําไปใช ้ต่อ อย่าใช ้อุปกรณ์ชาร์จหรือแบตเตอรี่
ที่ชํารุดเสียหาย ใช ้อุปกรณ์ชาร์จในอาคารเท่านั้น
ข้อมูลเพิ่มเติมด้านความปลอดภ ัย
การโทรฉุกเฉิน
1
ตรวจสอบให ้แน่ใจว่าได ้เปิดโทรศัพท์แล ้ว
2
ตรวจสอบว่ามีสัญญาณเพียงพอหรือไม่ นอกจากนี้ คุณอาจต ้องดําเนินการดังต่อไปนี้
•
ใส่ซิม
•
ยกเลิกการจํากัดการโทรที่คุณเปิดใช ้กับโทรศัพท์ของคุณ เช่น การจํากัดการโทร การจํากัดเบอร์ หรือเฉพาะกลุ่ม
•
ตรวจสอบให ้แน่ใจว่าโทรศัพท์ของคุณไม่อยู่ในโหมดใช ้บนเครื่องบิน
•
หากหน ้าจอและปุ่มล็อคอยู่ ให ้ปลดล็อค
3
หากต ้องการเปิดแป้นกดโทรศัพท์ ให ้เลือก
โทรศ ัพท์
4
พิมพ์หมายเลขฉุกเฉินเพื่อแจ ้งตําแหน่งปัจจุบันที่คุณอยู่ ซึ่งหมายเลขโทรฉุกเฉินในแต่ละพื้นที่จะแตกต่างกันไป
5
กดปุ่มโทร
6
คุณต ้องให ้ข ้อมูลต่างๆ ที่ถูกต ้องให ้ได ้มากที่สุด อย่าเพิ่งวางสายจนกว่าจะได ้รับแจ ้งให ้วาง
เมื่อคุณเปิดโทรศัพท์ครั้งแรก ระบบจะขอให ้คุณสร ้างบัญชี Nokia หากต ้องการโทรฉุกเฉินระหว่างขั้นตอนตั้งค่าบัญชี ให ้กดปุ่มโทรออก
ข้อสําค ัญ: เปิดใช ้งานทั้งสายโทรศัพท์มือถือและอินเทอร์เน็ต หากโทรศัพท์ของคุณสนับสนุนสายอินเทอร์เน็ต เครื่องอาจพยายาม
ต่อการโทรฉุกเฉินผ่านทั้งเครือข่ายเซลลูลาร์และผ่านผู ้ให ้บริการสายอินเทอร์เน็ต ไม่สามารถรับประกันได ้ว่าจะสามารถเชื่อมต่อได ้
ในทุกสภาวะ ไม่ควรวางใจว่าโทรศัพท์ไร ้สายจะเป็นเครื่องมือสื่อสารที่ดีที่สุดเสมอในยามจําเป็น อาทิเช่น เมื่อเกิดกรณีฉุกเฉินทางการแพทย์
เด็กเล็ก
เครื่องของคุณ รวมทั้งอุปกรณ์เสริม ไม่ใช่ของเล่น อุปกรณ์เหล่านั้นอาจมีชิ้นส่วนขนาดเล็ก โปรดเก็บให ้พ ้นมือเด็กเล็ก
อุปกรณ์ทางการแพทย์
การทํางานของอุปกรณ์สําหรับรับหรือส่งสัญญาณวิทยุรวมทั้งโทรศัพท์มือถืออาจก่อให ้เกิดสัญญาณรบกวนต่อการทํางานของอุปกรณ์
ทางการแพทย์ที่ไม่มีการป้องกันสัญญาณเพียงพอได ้ โปรดปรึกษาแพทย์หรือบริษัทผู ้ผลิตเครื่องมือทางการแพทย์นั้นๆ หากไม่แน่ใจ
ว่าอุปกรณ์นั้นได ้รับการป้องกันพลังงานความถี่วิทยุ จากภายนอกอย่างเพียงพอหรือไม่
อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ปลูกถ่ายไว้ในร่างกาย
ผู ้ผลิตอุปกรณ์ทางการแพทย์แนะนําว่า ควรให ้โทรศัพท์มือถืออยู่ห่างจากอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ปลูกถ่ายไว ้ในร่างกาย เช่น เครื่องควบคุม
การเต ้นของหัวใจหรือเครื่องกระตุ ้นการทํางานของหัวใจ อย่างน ้อย 15.3 เซนติเมตร (6 นิ้ว) เพื่อหลีกเลี่ยงสัญญาณรบกวนที่อาจเกิดกับ
เครื่องดังกล่าว สําหรับผู ้ใช ้อุปกรณ์ทางการแพทย์ดังกล่าว ควรปฏิบัติดังนี้
•
เก็บโทรศัพท์ให ้อยู่ห่างจากอุปกรณ์ทางการแพทย์มากกว่า 15.3 เซนติเมตร (6 นิ้ว) เสมอ
•
อย่าใส่อุปกรณ์ไร ้สายไว ้ในกระเป๋าเสื้อ
•
ใช ้โทรศัพท์กับหูข ้างที่ตรงข ้ามกับอุปกรณ์ทางการแพทย์
•
ปิดโทรศัพท์เคลื่อนที่ หากสงสัยว่ากําลังเกิดสัญญาณรบกวน
•
ทําตามคําแนะนําจากผู ้ผลิตสําหรับอุปกรณ์ทางการแพทย์ดังกล่าว
38